09 ก.ย. 67 200 ครั้ง ตามที่มีการเผยแพร่ข้อมูลเรื่อง CDS ผสมกับน้ำเกลือ 50cc ใช้หยอดตา ช่วยทำให้ฝ้าขาวในตาหาย มองเห็นได้ชัดขึ้น ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยโรงพยาบาลราชวิถี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขพบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
09 พ.ค. 67 1,020 ครั้ง หยุดแชร์!! ข่าวปลอม อาหารเสริม EV9 พลูคาวสกัด ช่วยยับยั้งเซลล์มะเร็ง อย.เผย โฆษณาเกินจริง หลอกผู้ป่วยหลงเชื่อ พบเห็นแจ้งสายด่วน 1556
26 ม.ค. 67 927 ครั้ง จากที่มีประเด็นในสื่อออนไลน์เกี่ยวกับเรื่องเปลือกและรากของต้นแทงทวย ใช้รักษาโรคมะเร็งได้ ทางศูนย์ต่อต้านข่าวปลอมได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงกับสถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าประเด็นดังกล่าวนั้น เป็นข้อมูลเท็จ
14 ธ.ค. 66 2,426 ครั้ง ข่าวปลอม อย่าแชร์!! วัคซีน Pfizer ทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน กรมควบคุมโรค ชี้ วัคซีนได้รับการรับรองจาก WHO ปลอดภัย ลดป่วย-เสียชีวิต
11 พ.ค. 66 18,452 ครั้ง สสส. สานพลัง ภาคีเครือข่าย จัดเวทีสูงวัย ‘รู้ทันสื่อการเมือง’ ขานรับกระแสเลือกตั้ง 66 มุ่งเป้าผู้สูงวัยกว่า 12 ล้านคน รู้เท่าทันข่าวลวงทางการเมือง
03 เม.ย. 66 19,009 ครั้ง วันตรวจสอบข่าวลวงโลก! โคแฟค ร่วมกับ สสส. สานพลังภาคีเครือข่าย แนะ เช็กให้ชัวร์ก่อนแชร์ ป้องกันข่าวลวง ช่วงหาเสียงเลือกตั้ง แนะประชาชน เช็กข้อมูลรอบด้าน เป็นพลเมืองรู้เท่าทันสื่อ สร้างสังคมประชาธิปไตยมีสุขภาวะ
30 ก.ย. 65 14,226 ครั้ง ถึงแม้ว่าปัญหาข่าวปลอมจะได้รับการดูแลและจัดการจากภาคส่วนต่าง ๆ เช่น การออกกฎหมายลงโทษของภาครัฐ การกำกับดูแลกันเองของภาคอุตสาหกรรม การให้ความรู้และข้อเท็จจริงของภาคประชาสังคมและสื่อมวลชนที่เป็นมืออาชีพและการวางนโยบายการใช้งานของผู้เผยแพร่เนื้อหาในสื่อสังคมออนไลน์ ดังนั้นผู้รับสารเองควรมีทักษะในการรู้เท่าทันสื่อ สามารถวิเคราะห์ ใช้วิจารณญาณในการับข่าวสาร เปิดรับแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือ สามารถแยกแยะข้อเท็จจริง ๆ กับความคิดเห็นออกจากกันได้ รู้ถึงเจตนาที่ต้องการสื่อในข่าว เมื่อผู้รับข่าวสารรู้เท่าทันข่าว ก็จะทำให้ลดจำนวนการแชร์และแพร่กระจายของข่าวปลอมได้
30 ก.ย. 65 3,412 ครั้ง ข่าวปลอมอยู่ภายในระบบนิเวศขนาดใหญ่ของข้อมูลและบิดเบือน การทำให้ผู้อ่านเข้าใจผิด อาจเกิดโดยตั้งใจหรือไม่ได้ตั้งใจก็ได้ แต่การบิดเบือนข้อมูลเป็นข้อมูลเท็จที่สร้างขึ้นโดยเจตนาและแพร่กระจาย เพื่อสร้างอิทธิพลต่อความคิดเห็นของสาธารณชนหรือปิดบังความจริง ในการจำแนกประเภทของข่าวปลอม The European Association for Viewers Interests (EAVI) ซึ่งเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกำไรที่สนับสนุนการรู้เท่าทันสื่อได้แบ่งประเภทข่าวปลอมและข่าวที่สร้างความเข้าใจผิด ดังนี้
24 มี.ค. 65 4,389 ครั้ง “ดื่มน้ำมะนาว ผสมน้ำส้มสายชู และโซดา ช่วยแก้โควิด-19 “ “วางก้อนน้ำแข็งบนท้ายทอย ช่วยรักษาโรคทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ และอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย”
18 มี.ค. 64 5,249 ครั้ง มีเหตุผลมากมายที่ทำให้คนส่วนใหญ่ยังหลงเชื่อใน ‘ข่าวปลอม’ ต่างๆ ดังนั้น เพื่อป้องกันไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของข่าวปลอมอีก ลองมาดูกันดีกว่าว่า จุดอ่อนที่อาจทำให้เราหลงเชื่ออยู่ตรงไหน? จะช่วยให้เราระมัดระวังกันมากขึ้น
08 ก.พ. 64 1,853 ครั้ง ตามที่มีข่าวปรากฏในสื่อต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นเรื่อง “เป็นริดสีดวงมีความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่” กรมการแพทย์ โดย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า การเป็นโรคริดสีดวงไม่ได้เพิ่มความเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่
18 ม.ค. 64 1,803 ครั้ง ตามที่มีกระแสข่าวทางสื่อออนไลน์ โดยระบุว่า “การเล่นโทรศัพท์มือถือในที่มืดเป็นเวลานาน เสี่ยงเป็นโรคมะเร็งตา” กรมการแพทย์ โดย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า การเล่นโทรศัพท์มือถือในที่มืดเป็นเวลานานไม่ได้เสี่ยงให้เกิดโรคมะเร็งตาแต่อย่างใด
25 พ.ค. 63 3,639 ครั้ง เผยคนไทยเสพข่าวปลอมด้านสุขภาพ ช่วง โควิด-19 ผ่านช่องทางยอดนิยมอย่างเฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ พบหลายข่าวมีการแชร์ต่อจำนวนมาก แต่ให้ความเห็นในเชิงแก้ข่าวน้อย แนะคนไทย รู้เท่าทันสื่อ รัฐ เอกชน ประชาชน และสื่อหลัก ร่วมมีบทบาทในการสร้างความเข้าใจ แก้ข่าวปลอม ให้ข้อเท็จจริง
29 ต.ค. 62 2,300 ครั้ง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับภาคีเครือข่าย จัดให้ความรู้การรับมือข่าวลวง ข่าวด้านมืดออนไลน์ เสนอแบนสินค้าสนับสนุนเพจข่าวลวง ข่าวเท็จ พร้อมสร้างคนรุ่นใหม่รู้เท่าทันสื่อยุคประเทศไทย 4.0
11 ก.ค. 62 3,629 ครั้ง ภาคประชาสังคมจี้ Social Media เปิดพื้นที่ร่วมตรวจสอบข่าวลวง ลดความเกลียดชังและด้านมืดออนไลน์